แพรี่ด็อกผู้ถูกทำร้าย

ทุ่งหญ้าแพรี่ใจกลางอเมริกา มันคือบ้านของสัญลักษณ์อันยิ่งใหญ่แห่งอเมริกาตะวันตก เราจะบอกเล่าเรื่องราวของสัตว์ที่สร้างรูปให้กับอเมริกาตะวันตกอย่างแท้จริง มาเรียกพวกมันว่าอันเดอร์ด็อก หรือ สุนัขเบี้ยล่างแพรี่ ด็อก หรือ หูแพรี่ พวกมันเป็นสัตว์ที่สำคัญกุญแจสำคัญของทางสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวกับทุ่งแพรี่ ที่ประกอบด้วยหญ้าต้นสั้น แต่สำหรับชาวไร่และนักพัฒนาที่ดิน แพรี่ ด็อกเปรียบเสมือนผู้ร้าย การกำจัดพวกมันให้หมดสิ้น

เมื่อนำตะกอนจากใต้ซากฟอสซิลของ เฮอเรราซอรัส ไปตรวจสอบหาอายุ ก็รู้ได้ว่า ซากของไดโนเสาร์ชนิดนี้มาจากยุค “ไทรแอสสิค (Triassic)” ซึ่งเป็นยุคแรกในสามยุคทางธรณีวิทยา ที่เริ่มต้นขึ้นเมื่อ 245 ล้านปีก่อน ยุคที่สองก็คือยุคจูราสสิค (Jurassic) ที่โด่งดัง ซึ่งกินเวลานาน 63 ล้านปี และยุคสุดท้ายก็คือ ยุคครีเตเชียส Cretaceous) ซึ่งได้จบลงเมื่อ 65 ล้านปีก่อน ทั้งสามยุคนี้ประกอบกันขึ้นเป็น “เมโซโซอิค (Mesozoic)” มหายุคของสัตว์เลื้อยคลาน

เฮอเรราซอรัส มีความยาวเท่ากับรถยนต์ มีน้ำหนักน้อยกว่าลูกม้าตัวเล็ก พวกมันเป็นนักกินเนื้อที่มีความรวดเร็วและว่องไวเป็นอย่างยิ่ง ขากรรไกรที่เรียงรายด้วยฟันที่แหลมคมโค้งไปด้านหลัง ซึ่งถูกออกแบบมาอย่างเหมาะสมในการงับลงไปบนร่างเหยื่อ และกระดูกขาก็เป็นอีกหนึ่งอาวุธลับที่ทำให้ไดโนเสาร์ชนิดนี้ประสบความสำเร็จในการเป็นนักล่า และยึดครองโลกยุคไทรแอสสิคได้รวดเร็วราวกับพายุ

  

การที่ไดโนเสาร์ชนิดนี้สามารถเดินตัวตรงได้ด้วยสองเท้าหลัง ทำให้มันสามารถพัฒนามือในการจับ คว้า และมีกรงเล็บขนาดใหญ่ซึ่งก็เป็นอาวุธที่สำคัญอีกชนิดหนึ่ง รวมทั้งการมีข้อต่อขากรรไกรชนิดพิเศษที่ช่วยให้สามารถติดตามและงับร่างเหยื่อเป็นๆ ได้ ซึ่งส่งผลให้เฮอเรราซอรัสนั้นมีความเหนือชั้นกว่าไดโนเสาร์สายพันธุ์อื่นๆ ในรุ่นเดียวกันพวกมันอาจจะเป็นนักกินเนื้อชนิดแรก หากแต่ว่าไม่ใช่บรรพบุรุษของไดโนเสาร์ทุกชนิด

และแล้วทีมงานของ พอล เซเรโน ก็หวนกลับไปที่อาร์เจนตินาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อการค้นหาสัตว์ที่มีความเก่าแก่ยิ่งกว่าเมื่อก่อนนี้เคยมีแพรรี่ ด็อกหลายพันล้านตัวในอเมริกาตะวันตก และเล็มพืชพรรณ พลิกหน้าดินเพื่อหาไส้เดือน แต่ช่วงหลายร้อยปีที่ผ่านมา กว่า 98% ของแพรรี่ ด็อก กลับหายไป การสูญเสียเหยื่อที่สำคัญเช่นนี้จำนวนมากทำให้สัตว์ชนิดหนึ่งที่เรียกกันว่า เฟอเร็ต เท้าดำ เกือบจะสูญพันธุ์ แพรี่ ด็อกในอเมริกามีจำนวนลดลงอย่างมาก แพรี่ด็อกเม็กซิกันถึงขั้นกลายเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ แต่ในประเทศนี้ เรายังคงมองว่าพวกแพรรี่ ด็อกหางดำ และหางขาวนั้นล้วนเป็นสัตว์รบกวน มีแพรรี่ ด็อกอเมริกันเพียงชนิดเดียวนั่นก็คือ ยูท่าห์ แพรี่ ด็อก ที่ได้รับการคุ้มครอง พวกมันอาศัยอยู่ในอุทยานแห่งชาติ หนึ่งในภูมิทัศน์อันแสนตระการตาของอเมริกาตะวันตก

นักวิทยาศาสตร์อาวุโสจากสมาพันธ์สัตว์ป่าแห่งชาติ กล่าวถึงการสูญพันธุ์อันรวดเร็วของพวกมันว่า เกิดจากโรคระบาด และภายใน 2 สัปดาห์ แพรี่ทั้งเมืองเกือบตายไป แพรี่ ด็อกเริ่มมีจำนวนลดลงเพาะโรคระบาด โรคร้ายที่เรียกว่า กาฬโรค หรือมฤตยูดำ มันเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถต้านทาน จึงสามารถกำจัดพวกแพรี่ด็อกได้ในระยะเวลาอันสั้น แพรี่ ด็อกนั้น ป็นสัตว์สังคม พวกมันมีปฏิสัมพันธ์กันมาก จึงส่งต่อโรคร้ายได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งพวกมันมักจะอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น โรคจึงลามไปได้รวดเร็ว จึงทำให้พวกมันเกือบใกล้จะสูญพันธ์เต็มที

(419)

ใส่ความเห็น